วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555

 ความหมายแนวโน้มในอนาคตนวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศการศึกษาหรือการเรียนการสอน

   ความหมายและคุณค่าของสื่อการศึกษา สื่อการศึกษา สื่อโสตทัศน์ สื่อสารมวลชน สื่อโทรคมนาคมอิเล็กทรอนิกส์ สื่อมัลติมิเดีย การสร้าง การเลือก การใช้ การเก็บรักษาอุปกรณ์ทางการศึกษา การนำเทคโนโลยีการศึกษาไปใช้ในระบบโรงเรียน สื่อการศึกษาทางไกล แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต หลักจรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา


ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา

การศึกษาแนวโน้มของการวิจัยส าหรับประเทศไทยน้นั นอกจากจะศึกษาจากประเด็นปัญหาท่ีเป็นปัจจุบนั
แล้วสามารถส ารวจได้จากการท าวิจัยของนักศึกษาระดับปริ ญญาโท และเอกในสาขาเทคโนโลยีการศึกษาจาก
มหาวิทยาลยัท้งัในประเทศและต่างประเทศ ศึกษาได้จากบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทางด้านเทคโนโลยี
การศึกษาและวารสารท่ีเก่ียวขอ้งรวมท้งัศึกษาไดจ้ากหวัขอ้การจดั สัมมนาและการประชุมทางวชิาการในประเทศและ
ต่างประเทศ และบทความหรืองานวิจยัท่ีไดร้ับการคดั เลือกให้นา  เสนอในท่ีประชุมทางวิชาการน้ัน จากการศึกษา
ดงักล่าวพบว่า แนวโนม้ของการวจิยัทางดา้นเทคโนโลยกีารศึกษาซึ่งจะน าไปเป็ นนวัตกรรมได้มีดงัน้ี
1.  การวิจัยจะเก่ียวขอ้ งกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา เช่น ระบบมลั ติมีเดีย, Web-based 
Learning, E-learning และ Virtual Classroom ซึ่งเป็ นการน าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศมาใช้ท้งัระบบท่ีมี
การเช่ือมตอ่ ดว้ยสายนา สญั ญาณ และแบบไม่มีสาย หรือ Handheld and Wireless Technology   น Tablets   น  น
2.  การวิจัยด้านการออกแบบการสอน หรือ Instructional Design  ใหเ้หมาะสมกบั สถานการณ์ของการเรียนท่ี
เปล่ียนแปลง เช่น การออกแบบการสอนแบบต่าง ๆ การใช้ยุทธวิธีการสอน การฝึ กทักษะ และการใช้ Presentation 
Technologies 
3.  การพฒั นาและหาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศท่ีนา  มาใชก้ บัการศึกษา เช่นการสอนและการสอบ
ผ่านเครือข่าย Internet  การสร้างบทเรียนและเรียนบนเครือข่าย Internet  รวมท้งัระบบสารสนเทศอ่ืน ๆ เช่นระบบ 
Transaction Processing System, Management Information System, Decision Support System  ป็ นต้น 
4.  ด้านการเป็ นผู้น าทางเทคโนโลยี หรือ Leadership in Technologyและการสนับสนุนเงินทุนทางด้านการใช้
เทคโนโลยี หรือ Funding for Technology 
ส่วนวิทยาการดา้นการใชเ้ทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจะนา  มาใชใ้นสถานศึกษาแบ่งไดเ้ป็นการนา  มาใชใ้นดา้น
การบริหาร บริการและวิชาการ ซึ่งเป็ นแนวทางและแนวโน้มการน าเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการศึกษาดังน้

ทิศทางและแนวโน้มหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา (ในประเทศไทย)
พฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศจะนา ไปสู่การเปล่ียนสารสนเทศท่ีมีอย่ใูนปัจจุบนั ให้อย่ใูนรูปของ
Digital หรือ Digital Convergence ท าให้ลกั ษณะของหลกั สูตรและการสอนรวมท้งัสถาบนั การศึกษาเปล่ียนแปลงไป
แนวคิดการเรียนการสอนในแบบของ Industrial จะถกู นา มาใช้มีการนา  เทคโนโลยมีาใชม้ ากข้ึน ผเู้รียนและประชาชนยงั
ตอ้งเรียนรู้ตวัส่ือควบคู่ไปกบั สารการช่ืนชมการนา  เทคโนโลยีมาใชแ้กป้ ัญหาทางการศึกษายงัมีอยตู่ ่อเน่ือง ประเทศ
ไทยโดยรวมยงัไม่สามารถพฒั นาไปสู่การเรียนแบบ Transactional  อยา่ งเป็นปกติวิสัยหรือเป็นส่วนมากไดก้่อนปีพ.ศ. 
2560 พฒั นาการของเทคโนโลยมีีอิทธิพลมากในการกา หนดทิศทางและแนวโนม้ของท้งัระบบการศึกษาโดยรวม ส่วน
แนวความคิดทางการศึกษามีอิทธิพลนอ้ยกวา่ ในการกา หนดทิศทางของการนา  เทคโนโลยมีาใช้เน่ืองจากประเทศไทย
ได้รับอิทธิพลท้ังแนวคิดและเทคโนโลยีจากประเทศตะวนั ตกซ่ึงเป็นประเทศทุนนิยมท่ีมีสภาพสังคมเป็นเป็น
อุตสาหกรรมและหลงัอุตสาหกรรม วงลอ้ของการพฒั นาจะหมุนตามประเทศท่ีพฒั นาล่วงหนา้ไปแลว้โดยมี

ทิศทางและแนวโน้มทางเทคโนโลยกีารศึกษาดงัน้ี

1.  จะมีการทดลองใช้เทคโนโลยี WWW เพ่ือการศึกษาและการบริหารจัดการหลักสูตรมากข้ึน และ
ผลการวิจยัจะมีการแสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุณภาพของการเรียนการสอนและลดขอ้จา กดัของการ
เข้าถึงข้อมูลและการใช้เทคโนโลยีเป็ นการเตรียมเข้าสูยุค E-Learning อยา่ งเตม็ ท่ี
2.  จะมีการออกแบบระบบสารสนเทศ และใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนให้สามารถตอบสนองความ
ตอ้งการของผเู้รียนไดท้ ุกกลุม่ ท้งัผทู้ ่ีทา งาน เดก็ ผพู้กิารผตู้อ้งขงัและผสูู้งอายุ
3.  จะมีการนา  เทคโนโลยีส่ือสารไร้สายมาใชก้ บัการศึกษาแบบเคล่ือนท่ี(M-learning)  เช่น Mobile Phone 
(โทรศัพท์มือถือ) แ   Smart Phone   (Tablets) และ Wi-Fi Technology ส าหรับ 
Internet ไร้สายเป็ นต้น
4.  จะมีการรับรองมาตรฐานของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศข้ึน โดยมี
กระบวนการและวธิีการรับรองมาตรฐานท่ีแตกตา่ งไปจากการรับรองมาตรฐานการผลิตผจู้บการศึกษาท่ีเป็นอยู่
5.  จะมีการออกแบบโปรแกรมใหม่ ๆ นวตักรรมการสอน และมีวธิีการ


สรุป
จะเห็นได้ว่าทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยเพื่อการน าเทคโนโลยีมาใช้ทางการศึกษาซึ่ งหมายถึง 
นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา แบ่งไดต้ามระดบั ช้นั สาขาวิชา และประเภทของสื่อ ส่วนภารกิจของการนา 
เทคโนโลยมีาใชแ้บ่งออกเป็น 3 ดา้น ไดแ้ก่ภารกิจดา้นการบริหารดา้นการบริการและดา้นงานวชิาการ ภารกิจดา้นการ
บริหารงานในส านักงานรวมท้ังด้านบุคลากร การเงิน วสั ดุอปกรณ์อาคารสถานท่ีฯลฯ สามารถน าเอาระบบ
สารสนเทศ TPS, MIS  และ DSS  ไปใชไ้ดใ้นแต่ละระดบัของการบริหาร เช่น ระดบัล่างใช้TPS ระดับกลางใช้ MISและ
ระดับสูงใช้ DSS  ส่วนดา้นการบริการน้ันให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายไดแ้ก่คณาจารยแ์ละเจา้หน้าท่ีนกัศึกษา และ
บุคคลภายนอกทว่ัไป เป็นระบบงานสารสนเทศท่ีใหค้วามถูกตอ้ง รวดเร็วและเช่ือถือได้ระบบสารสนเทศในปัจจุบนั
สามารถออกแบบให้สอดคลอ้งกบัความตอ้งการของกลุ่มเป้าหมายได้เช่น กลุ่มคณาจารย์และเจ้าหน้าที่อาจต้องใช้
ระบบ CMS  ส่วนนกัศึกษาใชร้ะบบ SSS และบุคคลทว่ัไปเป็นระบบการแจง้ขอ้ มูลและข่าวสาร หรือInformation Service 
Systems โดยการใช้ Homepage ซ่ึงสามารถนา ไปใชป้ ระโยชน์ไดด้ีในทุกกลุ่มเป้าหมายดว้ย ส่วนงานวิชาการน้นั เป็น
การบูรณาการเทคโนโลยตี่าง ๆ ใหเ้กิดเป็นระบบข้ึน การออกแบบระบบบูรณาการสารสนเทศ หรือ ITSD  เป็ นวิธีการ
ของการนา  เอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้นงานวิชาการอยา่ งไรก็ตามการตดั สินใจเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพน้นั ข้ึนอยกับพ้ืนฐานของจริยธรรมและตอ้งมีการพิจารณาประเด็นด้านนการศึกษา ด้านสังคม 
และดา้นเศรษฐกิจและวฒั นธรรม การสร้างนวัตกรรม หรือการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือเทคนิควิธีควรสนองตอบต่อ
แนวโนม้


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น